วีดิโอจาก YouTube channel ของชรันดา
ชรันดา พานโฮม
เป็น Blogger ที่เป็นเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอน การศึกษา
หน้าเว็บ
เกี่ยวกับฉัน
- ชรันดา พานโฮม
- สวัสดีค่ะ ชื่อ ครูหมิว (ชรันดา พานโฮม) ปัจจุบันดำรงตำแห่นงครูผู้ช่วยโรงเรียนวัดบางปิ้ง (บริษัทเกลือไทยสงเคราะห์)
วันศุกร์ที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2563
วันเสาร์ที่ 4 เมษายน พ.ศ. 2563
สืบค้นงานวิจัยต่างประเทศ
เรื่องที่ 1
การใช้อินเทอร์เน็ตและสื่อสังคมออนไลน์เพื่อปรับปรุงชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีและสถานการณ์ของผู้อื่นของนักเรียน เพื่อความเป็นผู้นำในยุคดิจิทัล (Miller, Cynthia L.,2018)
การใช้อินเทอร์เน็ตและสื่อสังคมออนไลน์เพื่อปรับปรุงชีวิตความเป็นอยู่ที่ดีและสถานการณ์ของผู้อื่นของนักเรียน เพื่อความเป็นผู้นำในยุคดิจิทัล (Miller, Cynthia L.,2018)
Miller, Cynthia L.
Journal of Family and Consumer Sciences, v110 n1 p45-48 Win 2018
Digital Leadership: Using the Internet and Social Media to Improve the Lives, Well-Being and Circumstances of Others
Miller, Cynthia L.
Journal of Family and Consumer Sciences, v110 n1 p45-48 Win 2018
Source : Eric
Descriptors: Social Media, Citizenship, Student Leadership, Internet, Family Life Education, Consumer Education, Teacher Role, Social Responsibility, High School Students, Well Being
American Association of Family and Consumer Sciences. 400 North Columbus Street Suite 202, Alexandria, VA 22314. Tel: 800-424-8080; Tel: 703-706-4600; Fax: 703-706-4663; e-mail: bookstore@aafcs.org; Web site: http://www.aafcs.org
เรื่องที่ 2
ProQuest LLC, Ed.D. Dissertation, St. John's University (New York), School of Education and Human Services
Digital Leadership: An Examination between Leadership Styles and Technology Skills and Practices of Central Office Administrators
Polney, Carole L.
ProQuest LLC, Ed.D. Dissertation, St. John's University (New York), School of Education and Human Services
The purpose of this study was to evaluate the leadership styles and the extent to which central office administrators are using technology and compare this to the districts' practices regarding the integration of technology. The intent was to find if there was a correlation that existed between a digitally advanced administrator at the central office level with digital transformation practices in the district. Additionally, the goal was to create a profile or model of an effective digital leader from the research and data. This study is a mixed method of qualitative and quantitative research designed to address and research pertinent issues in educational technology leadership. These data were collected through an adapted and modified version of the CoSN (Consortium for School Networking) Digital Leadership Team Assessment and Empowered Superintendent Self-Assessment tools distributed to central office administrators in Nassau and Suffolk County school districts on Long Island, New York. The 82 participants of the study were superintendents, assistant superintendents and other central office administrators across Long Island. The data analysis was followed by one-to-one interviews of four superintendents chosen with high technology use based upon their responses to the assessment tool. Additionally, the researcher addressed the definition of leadership based upon literature reviews and international technology standards for administrators as set forth by ISTE (International Society of Technology in Education). The types of leadership include: transformational, innovative digital, and future ready and address how the culture of the organization is affected by these types of leaders. A strong and significant correlation .86 was found between leadership and district practices from this study. Implications such as changing interview and hiring, practices for administrators to include more than just interview questions is relevant and needs to be addressed for the technology advancement in public education. A recommendation for future research is to conduct a comparative study of central office administrators with building level administrators to see if there is a difference in practice and usage. Another recommendation is to do a case study of a highly effective digitally advanced and recognized district and discover what leads to their success. [The dissertation citations contained here are published with the permission of ProQuest LLC. Further reproduction is prohibited without permission. Copies of dissertations may be obtained by Telephone (800) 1-800-521-0600. Web page: http://www.proquest.com/en-US/products/dissertations/individuals.shtml.]
Descriptors: Leadership Styles, Administrator Role, Technology Integration, School Districts, Administrator Characteristics, Educational Technology, Technology Uses in Education, Superintendents, Central Office Administrators
ProQuest LLC. 789 East Eisenhower Parkway, P.O. Box 1346, Ann Arbor, MI 48106. Tel: 800-521-0600; Web site: http://www.proquest.com/en-US/products/dissertations/individuals.shtml
เรื่องที่ 3
วิธีการจัดการผลการเรียนและภาระงานอย่างมีประสิทธิภาพ มันแสดงให้เห็นถึงความต้องการในมหาวิทยาลัยที่มีขนาดใหญ่และทันสมัยเพื่อพิจารณาลักษณะของงานวิชาการและวิธีการที่เหมาะสมที่สุดในการพัฒนาการจัดสรรภาระงานและกระบวนการจัดการประสิทธิภาพ บทความนี้เสริมบทความก่อนหน้านี้สองฉบับตรงเวลาที่เกี่ยวข้องกับองค์ประกอบการสอนและการวิจัยของงานวิชาการโดยการสำรวจปริมาณงานบริการ / การบริหาร เก็บรวบรวมข้อมูลจากนักวิชาการ 665 คนที่มีประสบการณ์ด้านการบริหารเมื่อไม่นานมานี้ผ่านการสำรวจทั่วประเทศในปี 2559 และ 2561 (Kenny, John; Fluck, Andrew , 2019)
Kenny, John; Fluck, Andrew
Australian Universities' Review, v61 n2 p21-30 2019
Academic Administration and Service Workloads in Australian Universities
Kenny, John; Fluck, Andrew
Australian Universities' Review, v61 n2 p21-30 2019
This paper addresses the important and linked questions of how to manage academic performance and workload effectively. It highlights the need in a modern, corporatised university to consider the nature of academic work and optimal ways to develop workload allocation and performance management processes. This paper complements two previous papers on time associated with teaching and research components of academic work by exploring service/administration workloads. Data were collected from 665 academics with recent administration experience through a nation-wide survey in 2016 and 2018. The data were analysed to understand the median annual work hours for a range of internal and external service activities, and for a range of formal administrative roles. The analysis showed a further categorisation of academic service into operational and strategic activities. Together, the three papers underpin holistic academic workload model development using empirical annual hour allocations from a large and representative national sample of academics. This article provides an essential basis for any future consideration of performance assessment based on output measures such as research expectations, impact or quality.
Descriptors: Foreign Countries, Universities, Faculty Workload, College Administration, Academic Achievement, Administrator Surveys, Performance Based Assessment, Administrator Role
National Tertiary Education Union. PO Box 1323, South Melbourne 3205, Australia. Tel: +61-3-92541910; Fax: +61-3-92541915; e-mail: editor@aur.org.au; Web site: http://www.aur.org.au
วันศุกร์ที่ 3 เมษายน พ.ศ. 2563
สืบค้นบทความ "ภาวะผู้นำเหนือผู้นำ"
ภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2 Leadership of School Administrators under the office of Nakhon Si Thammarat Primary Educational Service Area 2
Article Sidebar
Published: Nov 27, 2017
Keywords:
ภาวะผู้นำ, การบริหารสถานศึกษา, leadership School Administrators
Published: Nov 27, 2017
Keywords:
ภาวะผู้นำ, การบริหารสถานศึกษา, leadership School Administrators
Main Article Content
ณรงค์ศักดิ์ กำเนิดทอง
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วีระยุทธ ชาตะกาญจน์
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
ดร. ธีระพงษ์ สมเขาใหญ่
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
ณรงค์ศักดิ์ กำเนิดทอง
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.วีระยุทธ ชาตะกาญจน์
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
ดร. ธีระพงษ์ สมเขาใหญ่
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช
Abstract
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1)เพื่อศึกษาภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2 และ 2)เพื่อเปรียบเทียบภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2 ตามความคิดเห็นของครู จำแนกตามวุฒิการศึกษา ประสบการณ์การสอน และขนาดโรงเรียน กลุ่มตัวอย่าง คือครูโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2 จำนวน 320 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางสำเร็จรูปของเครจซี่และมอร์แกน ได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น และวิธีการสุ่มอย่างง่ายเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามชนิดสำรวจรายการและมาตราส่วนประมาณค่า สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบค่า t–test วิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว (One Way ANOVA) และเปรียบเทียบรายคู่ตามวิธีการของ LSD (Least Significant Difference)
ผลการวิจัยพบว่า 1)ภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2 อยู่ในระดับมากทั้งโดยรวมและรายด้าน 2)ผลการเปรียบเทียบภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2 ตามความคิดเห็นของครู จำแนกตามวุฒิการศึกษา พบว่าไม่แตกต่างกันเมื่อจำแนกตามประสบการณ์การสอนและจำแนกตามขนาดโรงเรียน พบว่าแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์ 1)เพื่อศึกษาภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2 และ 2)เพื่อเปรียบเทียบภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2 ตามความคิดเห็นของครู จำแนกตามวุฒิการศึกษา ประสบการณ์การสอน และขนาดโรงเรียน กลุ่มตัวอย่าง คือครูโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2 จำนวน 320 คน กำหนดขนาดกลุ่มตัวอย่างโดยใช้ตารางสำเร็จรูปของเครจซี่และมอร์แกน ได้มาโดยการสุ่มแบบแบ่งชั้น และวิธีการสุ่มอย่างง่ายเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูลเป็นแบบสอบถามชนิดสำรวจรายการและมาตราส่วนประมาณค่า สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลคือค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบค่า t–test วิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียว (One Way ANOVA) และเปรียบเทียบรายคู่ตามวิธีการของ LSD (Least Significant Difference)
ผลการวิจัยพบว่า 1)ภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2 อยู่ในระดับมากทั้งโดยรวมและรายด้าน 2)ผลการเปรียบเทียบภาวะผู้นำของผู้บริหารสถานศึกษาในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษานครศรีธรรมราช เขต 2 ตามความคิดเห็นของครู จำแนกตามวุฒิการศึกษา พบว่าไม่แตกต่างกันเมื่อจำแนกตามประสบการณ์การสอนและจำแนกตามขนาดโรงเรียน พบว่าแตกต่างกันอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05
ปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐานสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (FACTORS AFFECTING ETHICAL LEADERSHIP OF BASIC EDUCATION SCHOOL ADMINISTRATORS UNDER THE OFFICE OF THE BASIC EDUCATION COMMISSION)
Article Sidebar
Published: May 16, 2019
Keywords:
ปัจจัย, ภาวะผู้นำเชิงจริยธรรม, ผู้บริหารสถานศึกษา, Factors, Ethical Leadership, Administrator
Main Article Content
กันยมาส ชูจีน (Kanyamas Choojeen)
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (Sukhothai Thammathirat Open University)
ชูชาติ พ่วงสมจิตร์ (Choochat Phuangsomjit)
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (Sukhothai Thammathirat Open University)
สุภมาส อังศุโชติ (Supamas Angsuchoti)
มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช (Sukhothai Thammathirat Open University)
รุ่งเรือง สุขาภิรมย์ (Rungrouang Sukapirom)
สำนักงานเลขาธิการสภาการศึกษา (Office of the Education Council)
Abstract
การวิจัยมีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาองค์ประกอบภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมและปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมของผู้บริหารสถานศึกษา ศึกษาอิทธิพลของปัจจัยที่ส่งผล และนำเสนอข้อเสนอเชิงนโยบายการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงจริยธรรม กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้อำนวยการสถานศึกษา 215 คน ผู้ให้ข้อมูลเชิงปริมาณเป็นผู้อำนวยการสถานศึกษา 215 คน และรองผู้อำนวยการสถานศึกษาหรือครู 860 คน และผู้ให้ข้อมูลเชิงคุณภาพเป็นผู้ทรงคุณวุฒิ 9 คน โดยการสัมภาษณ์เชิงลึก และผู้เชี่ยวชาญ 8 คน โดยการสัมมนาอ้างอิงผู้เชี่ยวชาญ เครื่องมือการวิจัยเป็นแบบสอบถามภาวะผู้นำเชิงจริยธรรมและปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะผู้นำเชิงจริยธรรม มีค่าความเที่ยง .96 และ .95 แนวคำถามการสัมภาษณ์เชิงลึก และแนวคำถามสัมมนาอ้างอิงผู้เชี่ยวชาญ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์เนื้อหา การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน และการวิเคราะห์โมเดลสมการโครงสร้าง ผลการวิจัย พบว่า 1) ภาวะผู้นำเชิงจริยธรรม ประกอบด้วย การมีวินัย การประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี การดำรงชีวิตอย่างเหมาะสม ความรักและศรัทธาในวิชาชีพ และความรับผิดชอบในวิชาชีพ 2) ปัจจัยที่ส่งผลต่อภาวะผู้นำเชิงจริยธรรม ประกอบด้วย การมีบุคคลต้นแบบและได้ร่วมงานกับบุคคลที่มีจริยธรรม การได้รับการส่งเสริมจริยธรรมจากสถาบันทางสังคม การอยู่ในสิ่งแวดล้อมทางสังคมที่ส่งเสริมจริยธรรม การมีคุณลักษณะของตนเองที่เอื้อต่อการพัฒนาจริยธรรม สถานศึกษามีบรรยากาศองค์การ ปทัสถานทางสังคม วัฒนธรรมองค์การเน้นจริยธรรม และมีระบบการให้รางวัลและการลงโทษด้านจริยธรรม 3) ปัจจัยมีอิทธิพลทางบวกต่อภาวะผู้นำเชิงจริยธรรม และ 4) ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อพัฒนาภาวะผู้นำเชิงจริยธรรม ได้แก่ พัฒนาสถานศึกษาเป็นองค์การเน้นจริยธรรม พัฒนาคุณลักษณะของตนเอง ส่งเสริมบทบาทของสถาบันทางสังคม พัฒนาบุคคลแวดล้อม และปรับสิ่งแวดล้อมทางสังคมให้เอื้อต่อการพัฒนาจริยธรรม
Downloads
Article Sidebar
Published: Nov 22, 2018
Keywords:
ภาวะผู้นำร่วม, คณะกรรมการสถาน, Collective Leadership, The Basic School Board Committee
Main Article Content
ฐิติพงษ์ ตรีศร (Thitipong Treesorn)
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร (Faculty of Education, Naresuan University)
อนุชา กอนพ่วง (Anucha Kornpuang)
คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร (Faculty of Education, Naresuan University)
Abstract
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเสนอรูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา มีวิธีการวิจัยเป็น 3 ขั้นตอน 1) การสร้างรูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา เป็นการศึกษาองค์ประกอบ และแนวทางในการพัฒนาภาวะผู้นำร่วมจากเอกสารเกี่ยวกับทฤษฎีภาวะผู้นำ และการสัมภาษณ์คณะกรรมการสถานศึกษา 2) การทดลองใช้รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา 3) การประเมินประสิทธิภาพรูปแบบของกระบวนการพัฒนาภาวะผู้นำร่วมและผลกระทบของการใช้รูปแบบ ผลการวิจัย พบว่า 1) รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาเป็นแบบจำลองที่แสดงความสัมพันธ์ขององค์ประกอบ 4 ส่วน คือ 1) ทิศทางของรูปแบบการพัฒนา กระบวนการพัฒนา ผลลัพธ์ของรูปแบบการพัฒนา และปัจจัยความสำเร็จของการพัฒนา 2) คณะกรรมการสถานศึกษาและทีมสนับสนุน ได้รับการพัฒนาภาวะผู้นำร่วมโดยการเปลี่ยนแปลงทักษะการเรียนรู้ และการทำงานเป็นทีม 3) ผลการประเมินประสิทธิภาพรูปแบบกระบวนการพัฒนาภาวะผู้นำร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษา พบว่าคณะกรรมการสถานศึกษามีการเปลี่ยนแปลงด้านทักษะการเรียนรู้ การทำงานเป็นทีม และการศึกษาผลกระทบของการใช้รูปแบบ พบว่าคณะกรรมการสถานศึกษามีความเข้าใจตนเองและผู้อื่นดีขึ้น คณะกรรมการสถานศึกษาเข้าใจบทบาทและหน้าที่มากขึ้น เห็นคุณค่าของเป้าหมายร่วมในการพัฒนาโรงเรียน Article Details
Abstract
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อเสนอรูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา มีวิธีการวิจัยเป็น 3 ขั้นตอน 1) การสร้างรูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา เป็นการศึกษาองค์ประกอบ และแนวทางในการพัฒนาภาวะผู้นำร่วมจากเอกสารเกี่ยวกับทฤษฎีภาวะผู้นำ และการสัมภาษณ์คณะกรรมการสถานศึกษา 2) การทดลองใช้รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษา 3) การประเมินประสิทธิภาพรูปแบบของกระบวนการพัฒนาภาวะผู้นำร่วมและผลกระทบของการใช้รูปแบบ ผลการวิจัย พบว่า 1) รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษาในโรงเรียนระดับมัธยมศึกษาเป็นแบบจำลองที่แสดงความสัมพันธ์ขององค์ประกอบ 4 ส่วน คือ 1) ทิศทางของรูปแบบการพัฒนา กระบวนการพัฒนา ผลลัพธ์ของรูปแบบการพัฒนา และปัจจัยความสำเร็จของการพัฒนา 2) คณะกรรมการสถานศึกษาและทีมสนับสนุน ได้รับการพัฒนาภาวะผู้นำร่วมโดยการเปลี่ยนแปลงทักษะการเรียนรู้ และการทำงานเป็นทีม 3) ผลการประเมินประสิทธิภาพรูปแบบกระบวนการพัฒนาภาวะผู้นำร่วมของคณะกรรมการสถานศึกษา พบว่าคณะกรรมการสถานศึกษามีการเปลี่ยนแปลงด้านทักษะการเรียนรู้ การทำงานเป็นทีม และการศึกษาผลกระทบของการใช้รูปแบบ พบว่าคณะกรรมการสถานศึกษามีความเข้าใจตนเองและผู้อื่นดีขึ้น คณะกรรมการสถานศึกษาเข้าใจบทบาทและหน้าที่มากขึ้น เห็นคุณค่าของเป้าหมายร่วมในการพัฒนาโรงเรียน
การบริหารโรงเรียนแบบมีส่วนร่วมในเขตพื้นที่อำเภอประทาย จังหวัดนครราชสีมา
Schools Participatory Management in Prathay District, Nakornratchasima Province
Name: มนตรี แก้วสำโรง
ThaSH: โรงเรียน -- การมีส่วนร่วม
Abstract: งานวิจัยเรื่องการบริหารโรงเรียนแบบมีส่วนร่วมในเขตพื้นที่อำเภอประทาย จังหวัด นครราชสีมา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาและเปรียบเทียบการบริหารโรงเรียนแบบมีส่วนร่วมในเขตพื้นที่ อำเภอประทาย จังหวัดนครราชสีมา จำแนกตามภูมิหลังของครูผู้สอน โดยวิธีการศึกษาเชิงสำรวจจาก กลุ่มตัวอย่าง ในเขตอำเภอประทาย จังหวัดนครราชสีมา จำนวน 273 คน ผู้วิจัยใช้แบบสอบถามที่ มีค่าความเชื่อมั่น .914 เป็นเครื่องมือในการเก็บรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย (X ) ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน (S.D.) การทดสอบค่าที (t - test) การวิเคราะห์ ความแปรปรวนทางเดียว (0ne - way ANOVA) และการเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยรายคู่ ด้วยวิธีของเชฟเฟ (Scheffe’ Method) ผลการวิจัย พบว่า 1) การบริหารแบบมีส่วนร่วมของโรงเรียนในเขตพื้นที่อำเภอประทาย จังหวัด นครราชสีมา โดยภาพรวม และรายด้าน ครูมีการปฏิบัติในระดับมากที่สุด เรียงลำดับจากมากไปน้อย คือ ด้านการบริหารวิชาการ ด้านการบริหารงานบุคลคล ด้านการบริหารงานนักเรียน ด้านการบริหาร ทั่วไป และด้านการบริหารงบประมาณ 2) การทดสอบสมมติฐาน พบว่า ครูที่มีตำแหน่งต่างกัน มีส่วนร่วมในการบริหาร โรงเรียนแตกต่างกัน อย่างมีนัยสำคัญที่ระดับ .05 ส่วนครูที่มี เพศ อายุ ระดับการศึกษา และ ประสบการณ์ในการทำงาน แตกต่างกัน มีส่วนร่วมในการบริหารโรงเรียน ไม่แตกต่างกัน The purposes of this research were to study and to compare the levels of the Schools participatory management of the instructor opinions in Prathay district. These opinions were classified by the instructor backgrounds. The study was the descriptive research, collecting data from the sample of 273 instructors at schools during 2009 academic year. The research tools were self administrated questionnaires, developed by the researcher, with a reliability index of 0.914. The statistics used for data analysis were the percentage, means, standard deviation, t - test, and One - way ANOVA, with matched pair comparison. The results of the research were as followed ; 1) Overall the Schools Participatory Management in Parthay District, Nakornratchasima Province were at a highest level. When the opinions were considered by individual aspect, they also were highest, priority from high to less, namely, the academic administration, administrative staff, management students, affair administration, and personnel budget. 2) The hypothesis - test revealed that instructors who had different position, held statistically significant difference in school participatory management at .05 level.
มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต. สำนักวิทยบริการและเทคโนโลยีสารสนเทศ
Address: กรุงเทพมหานคร
Email: ird@dusit.ac.th, srinacorn_pun@dusit.ac.th
Name: จิตรี โพธิมามกะ
Role: อาจารย์ที่ปรึกษา
Modified: 2554-12-11
Created: 2553
Issued: 2554-12-07
วิทยานิพนธ์/Thesis
application/pdf
วพ LB2805 $b ม151 ก6 2553
tha
DegreeName: ครุศาสตรมหาบัณฑิต
Level: ปริญญาโท
Descipline: สาขาวิชาการบริหารการศึกษา
Grantor: มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต
©copyrights มหาวิทยาลัยสวนดุสิต
ระบบสารสนเทศ AMSS++ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร
ระบบสารสนเทศ AMSS++ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร เป็นระบบที่ใช้รับส่งเอกสาร/หนังสือทางราชการ ระหว่างเขตพื้นที่กับโรงเรียน หรือ ระหว่างโรงเรียนกับโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นทางการศึกษาสมุทรสาคร เพื่อลดการใช้กระดาษและลดความล่าช้า
เปิดมาหน้าแรกจะขึ้นให้ล็อคอินเข้าใช้ก็ใส่รหัสให้เรียบร้อยและคลิกที่ login
หน้าแรกเป็นการเข้าล็อคอินของเจ้าหน้าที่ธุการโรงเรียนหรือผู้อำนวยการโรงเรียน
เข้ามาก็จะเจอหน้านี้นะคะ จะมีหัวข้อต่างๆ คือ บริหารทั่วไป, บริหารงบประมาณ, บริหารบุคคล, บริหารวิชาการ เป็นต้น
การรับหนังสือราชการ จะต้องทำการเข้าไปที่ บริหารทั่วไป แล้วคลิกคำว่า “รับหนังสือราชการ”
เข้ามาที่รับหนังสือราชการจะเจอหน้าตาแบบนี้
ให้เลือเรื่องที่ต้องการเปิดรับ และคลิกตรงคำว่า “คลิก”
หน้าต่างเรื่องนั้นๆ จะเด้งขึ้นมาให้โหลดหนังสือราชการ เราก็คลิก โหลดไฟล์ได้เลย
ถ้าต้องการดูเอกสารที่ส่งไปเขตพื้นที่ หรือตามโรงเรียนต่างๆ ในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสมุทรสาคร ให้ไปที่ หนังสือส่ง และคลิก “หนังสือส่งไป”
จะขึ้นหน้านี้เพื่อดูหนังสือที่ส่งไปแล้ว
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)
วีดิโอจาก YouTube channel ของชรันดา
วีดิโอจาก YouTube channel ของชรันดา
-
ชื่อ : นางสาวชรันดา พานโฮม ตำแหน่ง : ครูผู้ช่วย โรงเรียนวัดบางปิ้ง (บริษัทเกลือไทยสงเคราะห์) สถานที่ทำงาน : โรงเรียนวัดบางปิ้ง (บริษท...
-
ไฟล์"ภาวะผู้นำเหนือผู้นำ" แบบภาวะผู้นำแห่งศตวรรษที่ 21
-
Title การบริหารโรงเรียนแบบมีส่วนร่วมในเขตพื้นที่อำเภอประทาย จังหวัดนครราชสีมา Title Alternative Schools Participatory Managemen...